ภาษาไทย
English
หน้าแรก
ข่าวสาร
ข่าวสาร
กิจกรรม
โครงการ
หนังสือใหม่
ฐานข้อมูลวิชาการ
หนังสือ
งานวิจัย
บทความ
ฐานข้อมูลทัศนศิลป์
เกี่ยวกับเรา
ประวัติผู้ก่อตั้งมูลนิธิ
วัตถุประสงค์
รายนามคณะกรรมการมูลนิธิ
ตราสัญลักษณ์
รายงานการดำเนินกิจการ
Subscribe to the RSS Feed
ฐานข้อมูลวิชาการ
งานวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ
งานวิจัย
บทความ
งานวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ
หนังสือ
A Guide to Art and Antiquities in Thailand
A History of Visual Art in Thailand
Art in Peninsular Thailand Prior to the Fourteen Century A.D
Bangkok’ 85 Curriculum and Faculty Directory
Royal Collection and Art of Thailand (ภาษาญี่ปุ่น)
Sculpture from Thailand
SEMAS
The Roots of Thai Art
The Sacred Image in Thailand ฉบับภาษาฝรั่งเศส
The Secrad Image
กึ่งพุทธกาลพุทธศิลป์ไทย
คำอภิปรายเรื่องศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑.สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์จัดพิมพ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ป, ๒๕๓๓.
จารึกพ่อขุนรามคำแหง: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ :อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด, ๒๕๓๒. (พิมพ์ครั้งแรก)
จารึกพ่อขุนรามคำแหง: วรรณคดีประวัติศาสตร์การเมืองแห่งกรุงสยาม. พิมพ์ครั้งที่๒ (ปรับปรุงใหม่).กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, ๒๕๔๗.
แบบศิลปะในประเทศไทยตามทฤษฎีใหม่.พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น, กรกฎาคม – สิงหาคม ๒๕๒๓.
ประวัติศาสตร์ศิลปในประเทศไทยฉบับคู่มือนักศึกษา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๘.
ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป, ๒๕๓๓.
พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลปะโทน แปลโดย ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๑๗.
รากเหง้าแห่งศิลปะไทย. กรุงเทพฯ : ริเวอร์ บุ๊คส์, ๒๕๕๓.
ลักษณะไทย เล่ม ๑: พระพุทธปฏิมา อัตลักษณ์พุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ :อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๕๒. www.laksanathai.com
ศิลปกรรมหลังพ.ศ. ๒๔๗๕.ไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๕.
ศิลปทักษิณก่อนพุทธศตวรรษที่๑๙.กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๒๓.
ศิลปวัตถุสำคัญในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๒๒.
ศิลปะสุโขทัยและอยุธยา ภาพลักษณ์ที่ต้องเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๕.
อารยธรรมไทยพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๔.
งานวิจัย
การวิเคราะห์การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยในอดีตและปัจจุบันเพื่อเสนอแนะแนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะต่อไปในอนาคต. กรุงเทพฯ :สถาบันไทยคดีศึกษา, ๒๕๓๐. (อัดสำเนา)
พระพุทธชินราช: การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ศิลปะการศึกษาภาพลักษณ์ที่สร้างขึ้นโดยชนชั้นนำสยามสู่สามัญชน. สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, [ม.ป.ป.].
บทความ
“การปรับเปลี่ยนและอายุเวลาของสถาปัตยกรรมอยุธยา,”สยามอารยะ, ๒: ๙ (มิถุนายน) ๒๕๓๖, หน้า ๒๙-๔๕.
“การปรับเปลี่ยนยุคสมัยของพุทธศิลป์ในประเทศไทย.”เมืองโบราณ, ๒๕: ๒ (เมษายน – มิถุนายน) ๒๕๔๒, หน้า ๑๐-๓๖.
“การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะของคณะศิลปศาสตร์,” วารสารศิลปศาสตร์, ๑: ๑ (มกราคม – มิถุนายน) ๒๕๔๔, หน้า ๒๑๖ –๒๒๑.
“การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป,”เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา ป. ๓๑๒ ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๒๙.
“การศึกษาและวิจัยทัศนศิลป์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันโดยสังเขป,” เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาและวิจัยทางศิลปะกับสังคมไทย” จัดโดย สาขาปรัชญา คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ๒๗-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙.
“ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับไตรภูมิพระร่วง: พระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ ๑ พญาลิไทย หรือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว,” ไทยคดีศึกษา : รวมบทความทางวิชาการเพื่อแสดงมุทิตาจิต อาจารย์พันเอกหญิง คุณนิออนสนิทวงศ์ ณ อยุธยา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป, ๒๕๓๓, หน้า ๒๒๑-๒๓๖.
“ความเป็นไทยในทัศนศิลป,” เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องความเป็นไทยที่ควรธำรงไว้ โดยสถาบันไทยคดีศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๖-๒๘ มีนาคม ๒๕๒๙, หน้า ๑-๑๙.
“ไตรภูมิพระร่วงพระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ ๑ พญาลิไทยหรือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว,” ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕: ๑ (พฤศจิกายน) ๒๕๔๖, หน้า ๑๕๕ – ๑๖๓.
“ทวาราวดีและศรีวิชัยในทัศนะของนักประวัติศาสตร์ศิลปะ,” ศิลปะโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ตอนที่ ๑. กรุงเทพฯ: กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๗, หน้า ๖๗-๑๑๐. (เอกสารประกอบการอบรมครู-อาจารย์หมวดสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา ๔-๑๐ มิถุนายน ๒๕๒๗).
“ทัศนศิลปสัมพันธ์ไทย-จีนก่อนสมัยรัตนโกสินทร์,” ศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร,๒๕๓๒, หน้า ๒๑๕-๒๓๐.
“ทิศทางและความเป็นไปได้ในการวิจัยศิลปะไทย,” ศิลปกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม) ๒๕๓๗, หน้า๓๘-๕๗.
“แนวการศึกษาประวัติงานช่างในประเทศพม่า,” เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง พม่าศึกษา ของสมาคมประวัติศาสตร์ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๓๐.
“แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ ในประเทศไทย,” พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.ร.ว.ศรี ทองแถม ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม. กรุงเทพฯ : จันวาณิชย์ จำกัด แผนกพิมพ์, ๒๕๒๘.
“แนวการศึกษาและวิจัยสาขาประติมากรรมไทย,” เอกสารประกอบการอบรมเรื่อง “แนวการศึกษาและวิจัยทางศิลปกรรมไทย” คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔-๒๖ กรกฎาคม ๒๕๒๙.
“บทความเกี่ยวกับศรีวิชัยเรื่องข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับศิลปะและประวัติศาสตร์แห่งคาบสมุทรภาคใต้,” ศรีวิชัย ๖: ๖ (เมษายน) ๒๕๒๕, หน้า ๓-๑๒.
“ปกิณกะในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่องความเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม,” ตะวันตกในตะวันออก:สังคมไทยสมัยรัชกาลที่ห้าถึงปัจจุบัน, เอกสารประกอบการสัมมนาเฉลิมพระเกียรติครบรอบ ๑๕๐ ปี พระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดโดยสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๗ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรถนนบรมราชชนนี ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ.
“ปกิณกะในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่องความเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม,” ศิลปวัฒนธรรม, ๒๖: ๑ (๑ พฤศจิกายน) ๒๕๔๗, หน้า ๗๘ – ๙๗.
“ประติมากรรมชิ้นสำคัญของเมืองพิษณุโลก,” ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก, ๔: ๓ (ธันวาคม ๒๕๒๑-มีนาคม ๒๕๒๒), หน้า ๒๐-๒๕.
“ประติมากรรมไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์,” เอกสารที่ระลึกงานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ วันที่ ๑๕-๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ จังหวัดลพบุรี. (อัดสำเนา).
“ประติมากรรมในประเทศไทย,”แปลโดย พรพิมล เสนาะวงศ์, เมืองโบราณ, ๙: ๓ (สิงหาคม-พฤศจิกายน) ๒๕๒๖, หน้า ๑๒-๕๐.
“ประติมากรรมสมัยทวารวดีที่บริเวณถ้ำเขางูจังหวัดราชบุรี,” ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย เล่ม ๒. อุไรศรี วรศะริน (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๑๘.
“ประวัติการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย,” ที่ระลึกงานพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (๑๙กันยายน ๒๕๓๓). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๓, หน้า ๓๒-๔๙.
“ประวัติการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย,” ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา, ๓: ๓ (สิงหาคม ๒๕๓๓), หน้า ๓-๒๗.
“ประวัติศาสตร์ศิลปะ,” ทัศน์ศิลปเชิงปฏิบัติการ Practicum in Visual Art. กรุงเทพฯ :เม็ดทราย, ๒๕๒๐, หน้า ๒๑-๕๙.
“ประวัติศาสตร์ศิลปะพัทลุง (ระหว่าง พ.ศ. ๑๒๐๐-๒๓๑๐),” เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการประวัติศาสตร์และโบราณคดีพัทลุงวันที่ ๒๒-๒๔ สิงหาคม. (อัดสำเนา)
“ประวัติศาสตร์ศิลปะสุโขทัยโครงสร้างที่ต้องเปลี่ยนแปลง,” สยามอารยะ, ๒: ๑๙ (กรกฎาคม ๒๕๓๗), หน้า ๑๕-๔๒.
“ประวัติศาสตร์ศิลปะอยุธยา,” อยุธยากับเอเชีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, ๒๕๔๔.
“ผ้าบรรพบุรุษของชาวมอญ,” วารสารไทยคดีศึกษา, ๒: ๒ (เมษายน – กันยายน) ๒๕๔๘, หน้า ๑ – ๓๔.
“พระพุทธรูปที่สำคัญ,” เก้ารัชกาล : รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๘, หน้า ๓๘-๘๕.
“มองศิลปะสู่ลักษณะไทย,” ๘๐ ปี อาจารย์ คุณนิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา รวมงานเขียนทางวิชาการไทยศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๓.
“ร่างลำดับเหตุการณ์ของประติมากรรมที่พบที่สทิงพระ,” แปลโดย พรพิมล เสนาะวงศ์, เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการประวัติศาสตร์และโบราณคดีบริเวณคาบสมุทรสทิงพระวันที่ ๘-๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๖, สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๒๖. (อัดสำเนา)
Facebook